ผลิตภัณฑ์

  1. หุ้น เป็นหุ้นส่วนบริษัท ด้วยเงินหลักร้อย
  2. กองทุน เปิดพอร์ตแบบอีซี่.. มีมืออาชีพคอยดูแลให้
  3. Intelligent Portfolios เปิดโหมดอัตโนมัติสำหรับดูแลการลงทุน
  4. สินทรัพย์ดิจิทัล การลงทุนบนสินทรัพย์แห่งอนาคต
  5. ตราสารหนี้และหุ้นกู้ ลงทุนเพื่อผลตอบแทนระยะยาว
  6. ตราสารอนุพันธ์ มองการณ์ไกล ด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
  7. บริการยืมและให้ยืมสินทรัพย์ ปล่อยเช่า-ขอยืมหุ้น เพื่อเพิ่มโอกาสในการลงทุน
  8. กองทุนส่วนบุคคล มีผู้จัดการช่วยให้การลงทุนของคุณง่ายขึ้น
  9. คู่มือการใช้ผลิตภัณฑ์ของเรา
  10. กลยุทธ์การลงทุน กลยุทธ์การลงทุนแนะนำ

แหล่งความรู้ด้านการลงทุน

  1. เริ่มลงทุนก้าวแรก เริ่มลงทุนก้าวแรก
  2. ลงทุนตามสินทรัพย์ ลงทุนตามสินทรัพย์
  3. บทวิเคราะห์การลงทุน บทวิเคราะห์การลงทุน
  4. แหล่งความรู้ครอบจักรวาลการลงทุนเพื่อทุกคน แหล่งความรู้ครอบจักรวาลการลงทุนเพื่อทุกคน

ข่าวสารและโปรโมชัน

  1. โปรโมชันและสิทธิพิเศษเพื่อคุณ
  2. อัปเดตข่าวสาร
  3. ประกาศ
  4. Point to invest
  5. INVX Point​
scbs image

โปรโมชันและสิทธิพิเศษ

พิเศษสำหรับลูกค้า Innovestx เท่านั้นใช้พอยต์แลกกองทุนรวมที่โดนใจ

ดูเพิ่มเติม

เกี่ยวกับเรา

  1. เกี่ยวกับเรา ร่วมเติบโตอย่างยั่งยืนไปกับเรา InnovestX
  2. ร่วมงานกับเรา ก้าวไปข้างหน้าแบบมีสไตล์
ค้นหาล่าสุด
เคลียร์
{{GetHitSearchValue.keywordTitle}}

INVX Macro Making Sense – 8 ธ.ค. 2566 เงินเฟ้อไทยต่ำกว่าคาดต่อเนื่องเป็นเดือนที่สอง

blog_list_heading
08 ธ.ค. 2566;
386
แชร์บทความนี้
test_blog_details_img

เนื้อหาโดยรวม

เงินเฟ้อไทยต่ำกว่าคาดต่อเนื่องเป็นเดือนที่สอง บ่งชี้ว่าภาวะเงินฝืดเริ่มฝังราก

อัตราเงินเฟ้อผู้บริโภคของไทยเดือน พ.ย. 2566 ลดลง -0.44% (YoY) เป็นการลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 (เดือน ต.ค. 2566 ลดลง-0.31%) โดยมีปัจจัยหลักจากราคาพลังงาน (ค่ากระแสไฟฟ้าและน้้ามันเชื้อเพลิง) ที่ปรับลดลงตามนโยบายของภาครัฐ และราคาน้ำมันในตลาดโลกที่ปรับตัวลดลง ประกอบกับสินค้าสำคัญในกลุ่มอาหารสดราคายังคงลดลงเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะเนื้อสุกร และไก่สด ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัว 0.58% (YoY) ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัว 0.66% กระทรวงพาณิชย์คาดการณ์อัตราเงินเฟ้อทั่วไปปี 2566 อยู่ระหว่าง 1.0-1.7% (ค่ากลาง 1.35%) ส่วนในปี 2567 จะอยู่ระหว่างติดลบ (-0.3)-1.7% (โดยมีค่ากลางอยู่ที่ 0.7%)

เรามองว่า ความเสี่ยงเงินฝืดเริ่มมีมากขึ้นจากการที่ (1) เงินเฟ้อผู้ผลิตหดตัวต่อเนื่องโดยเฉพาะสินค้ากึ่งสำเร็จรูป บ่งชี้ว่าผู้ผลิตไม่สามารถส่งผ่านต้นทุนไปยังผู้บริโภคได้ (2) องค์ประกอบเงินเฟ้อจากเงินเฟ้อพื้นฐานเริ่มหดตัวลดลง บ่งชี้ว่าความเสี่ยงเงินฝืดเริ่มกระจายเป็นวงกว้างมากขึ้น และ (3) หากยึดประมาณการเงินเฟ้อของกระทรวงพาณิชย์ที่ (-0.3)-1.7% (โดยมีค่ากลางอยู่ที่ 0.7%) ท่ามกลางฐานปีนี้ที่ต่ำ (และติดลบในบางเดือน) บ่งชี้ว่าเงินเฟ้อไทยต่ำกว่าเป้าหมายเงินเฟ้อที่ 2% อย่างมาก และเรื้อรัง

สำหรับปี 2566 เราคาดการณ์เงินเฟ้อที่ 3.0% จากฐานที่ต่ำในปีนี้ และมาตรการภาครัฐที่จะหมดลงในต้นปี 2024 อย่างไรก็ตาม มีความเสี่ยงมากขึ้นว่าเงินเฟ้อจะต่ำกว่าเราคาดการณ์จากเศรษฐกิจที่ชะลอตัวและนโยบายการเงินตึงตัว โดยเบื้องต้นมองว่าเงินเฟ้ออาจอยู่ที่ระดับ 2-3%

                                                                                       

                                                                                      ท่าน สามารถอ่านและดาวน์โหลดเอกสารได้จาก  Macro making sense 231208_T

                                                                                      กลับด้านบน